รวมฮิต ปลานิยมบริโภค ในไทย ข้อมูลปริมาณพร้อมมูลค่ารวม

ปลานิยมบริโภค

ปลานิยมบริโภค สัตว์น้ำที่อยู่คู่กับท้องทะเลไทย และยังเป็นสิ่งมีชีวิตสำคัญ ที่เป็นอาหารของคนไทยมานาน สามารถนำมาปรุงอาหารได้ทั้งทอด ต้ม ผัด นึ่ง หรือแม้กระทั่งเพาะเลี้ยงในบ้าน

เพื่อนำมาส่งออกขายยัง ตลาดขายสัตว์เลี้ยง ในไทยก็ได้อีกเช่นกัน โดยบล็อกรวมข่าวน่ารู้เกี่ยวกับสัตว์ทั่วโลก ได้รวมรายชื่อปลาฮิตที่ถูกปากคนไทยมาถึง 4 รายชื่อ พร้อมกับข้อมูลปริมาณการจับปลา มูลค่ารวม และข้อมูลทางโภชนาการ

ผลสำรวจ ปลานิยมบริโภค พฤติกรรมการกินสัตว์น้ำของคนไทย

สำหรับสัตว์น้ำอย่าง “ ปลา ” เป็นสิ่งมีชีวิตที่เป็นแหล่งอาหารโปรตีน โดยในเนื้อปลาเต็มไปด้วยโปรตีนย่อย ที่มีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย อาจจะมีไขมันอยู่บ้าง ขึ้นอยู่กับชนิดของปลา ซึ่งการบริโภคสัตว์น้ำของคนไทย อยู่ที่ค่าเฉลี่ย 28 – 30 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ส่วนใหญ่คนกรุงเทพจะรับประทานอาหารทะเล ได้แก่ ปลาทู, ปลากะพง, หมึก , กุ้ง

ส่วนกลุ่มปลาน้ำจืดที่นิยม ได้แก่ ปลาดุก และปลานิล นอกจากนี้ ทางสำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร ได้มีการสำรวจพบอีกว่า มีประชาชนคนไทยกว่า 10.9% ที่กินปลาน้ำจืดดิบ โดยภาคอีสานบริโภคมากที่สุด 18.7% รองลงมาเป็นภาคเหนือ 13% รองลงมาเป็นภาคกลาง 8.7% และสุดท้ายภาคใต้ 7% โดยเมนูที่นิยมรับประทานแบบดิบ ได้แก่ ปลาร้า แจ่วบองดิบ เป็นต้น

2 ชนิด ปลานิยมบริโภค กลุ่มปลาน้ำจืด

ปลานิยมบริโภค

ปลาตะเพียนขาว : หรือปลาตะเพียนเงิน นิยมเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า “ ปลาตะเพียน ” เป็นกลุ่มปลาน้ำจืดชนิด ปลานิยมบริโภค ของคนไทยอันดับที่ 1 โดยเป็นปลาพื้นเมืองของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ในประเทศไทยมีการเลี้ยงปลาตะเพียน มานานกว่า 30 ปี เมื่อปี 2022 ที่ผ่านมา มีปริมาณการจับปลาตะเพียนเพื่อการบริโภค 20,257.77 ตัน คิดเป็นมูลค่ารวม 1,060 ล้านบาท [1]

ปลานิล : กลุ่มปลาเศรษฐกิจ แพร่ขยายพันธุ์ง่าย โดยการเพาะปลานิลเริ่มในไทยเมื่อ พ.ศ. 2517 ตั้งแต่นั้นมา คนไทยก็นิยมเลี้ยงในบ้าน เพื่อเพาะเลี้ยงเป็น ธุรกิจสัตว์สวยงาม ส่งออกขายไปยังประเทศในยุโรป, ตะวันออกกลาง, สหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, เอเชีย ซึ่งสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรไม่น้อยกว่า 107,000 ล้านบาท เมื่อปี 2022 ที่ผ่านมา ปริมาณการจับปลาชนิดนี้ 17,218.19 ตัน คิดเป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 993.28 ล้านบาท [2]

2 ชนิด ปลานิยมบริโภค เพิ่มเติม

ปลาช่อน : ชนิดปลาที่คนไทยในหลายพื้นที่อย่าง จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดพิจิตร และจังหวัดเชียงใหม่ มักมีความเชื่อต่อปลาชนิดนี้ว่า ปลาช่อนสามารถขอให้ฝนตกลงมาได้ แต่จะต้องทำพิธีตามแบบโบราณก่อน เมื่อปี 2022 ที่ผ่านมา มีปริมาณการจับปลาช่อนเพื่อการบริโภค 6,068.16 ตัน คิดเป็นมูลค่ารวม 575.48 ล้านบาท [3]

ปลาดุก : ชนิดปลาที่แพร่กระจายพันธุ์ ตามแหล่งน้ำของทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา เป็นกลุ่มปลาที่รู้จักกันดี ในแง่ของการเป็นปลาเศรษฐกิจ เป็น สัตว์เลี้ยงสร้างอาชีพ ให้แก่เกษตรกรไทย อีกทั้งยังนิยมรับประทาน โดยเฉพาะทวีปเอเชีย เมื่อปี 2022 ที่ผ่านมา ปริมาณการจับปลาชนิดนี้ 4,455.42 ตัน คิดเป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 315.24 ล้านบาท [4]

ปลานิยมบริโภค สิ่งมีชีวิตที่กินได้ และนิยมเลี้ยงเพื่อค้าขาย

ปลานิยมบริโภค

ด้วยชนิดของ ปลานิยมบริโภค ที่เป็นพันธุ์ปลาน้ำจืด ถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญ ไม่ว่าจะกับมนุษย์ หรือทางเศรษฐกิจ อย่างที่รู้กันดีว่า เป็นกลุ่มปลาที่คนไทยกินมากที่สุด ด้วยจำนวนคนชอบกินปลาน้ำจืดมากขึ้น ก็เสี่ยงมีโอกาสสูญพันธุ์ได้

หากไม่รู้วิธีการเพาะขยายพันธุ์ และวิธีการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งนี้ ประเทศไทยมีปลาน้ำจืด และสัตว์น้ำจืดหลายชนิด ที่เสี่ยงใกล้จะสูญพันธุ์เต็มที อีกทั้งยังมีภัยธรรมชาติรูปแบบต่าง ๆ ที่มักส่งผลเสียต่อปริมาณสัตว์น้ำอีกด้วย [5]

นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีกลุ่มปลาอีกชนิดหนึ่ง ที่ไม่แนะนำให้รับประทาน โดยรายชื่อจัดอยู่ในกลุ่ม ปลาไม่ควรบริโภค อาทิเช่น ปลาฉลาม, ปลากระโทงดาบ หรือปลาอินทรี เป็นต้น เนื่องด้วยมีสารปรอทที่สูง หากรับประทานเข้าไป อาจก่อให้เกิดการสะสมของปรอทในร่างกายได้

ข้อมูลทางโภชนาการ เมื่อรับประทาน “ ปลา ”

ปลาตะเพียนขาว : มีข้อมูลทางโภชนาการต่อเนื้อปลา 100 Gram พลังงานราว ๆ 127 แคลอรี่ มีโปรตีน 17.8 กรัม บวกปริมาณของโอเมก้า 3 ที่สูง แถมยังมี Vitamin D 988 IU ประมาณ 165% ช่วยป้องกันการเสื่อมของโรคสมองเสื่อม โรคหอบหืด โรคซึมเศร้า

ปลานิล : มีข้อมูลทางโภชนาการต่อเนื้อปลา 100 Gram ให้พลังงาน 93 แคลอรี่ โปรตีน 18.23 กรัม ไขมันในเนื้อปลาทั้งหมด 2.25 กรัม บวกไอโอดีน 18 ไมโครกรัม Vitamin A 2 ไมโครกรัม Vitamin E 0.86 Milligram บลา ๆ ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ช่วยซ่อมแซมเนื้อเยื่อ และเซลล์ที่สึกหรอ

ปลาช่อน : มีข้อมูลทางโภชนาการต่อเนื้อปลา 100 Gram พลังงานราว ๆ 109 แคลอรี่ มีโปรตีน 20.5 กรัม บวกไขมัน 3.8 กรัม ปริมาณโอเมก้า 3 ที่ 44 Milligram เมนูฮิตสำหรับปลาช่อน ได้แก่ ปลาช่อนย่างเกลือ, ห่อหมกปลาช่อน, ปลาช่อนลุยสวน เป็นต้น

ปลาดุก : มีข้อมูลทางโภชนาการต่อเนื้อปลา 100 Gram ให้พลังงาน 135 แคลอรี่ โปรตีน 15.5 กรัม ไขมันในเนื้อปลาทั้งหมด 7.6 กรัม บวกปริมาณโอเมก้า 3 ที่ 460 Milligram เมนูฮิตสำหรับปลาดุก ได้แก่ ปลาดุกฟู, ปลาดุกย่าง, ปลาดุกทอดผัดพริกแกง เป็นต้น

ปลานิยมบริโภค กับคุณประโยชน์ที่จะได้รับ

ปลานิยมบริโภค

สำหรับคุณประโยชน์ที่จะได้รับ เมื่อรับประทาน ปลานิยมบริโภค พันธุ์ต่าง ๆ เป็นคุณประโยชน์ที่เห็นได้ชัดเจน สำหรับคนที่ชอบทานปลาเป็นอาหารมื้อหลัก ไม่ว่าจะเป็น

  • มีระบบย่อยอาหารที่ดีขึ้น
  • ช่วยในเรื่องการควบคุมน้ำหนัก ทานแล้วไม่มีอ้วน
  • มีกรดไขมันที่จำเป็นต่อร่างกาย ช่วยลดความเสี่ยงของโรคต่าง ๆ
  • ช่วยบำรุงสมอง บำรุงระบบประสาทในส่วนความจำ เป็นต้น

สรุป ปลานิยมบริโภค

ด้วยพันธุ์ปลาชนิดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ปลาตะเพียน, ปลานิล, ปลาช่อน หรือปลาดุก ทั้ง 4 รายชื่อนี้ต่างเป็นรายชื่อปลาน้ำจืดฮิต ที่คนไทยทั่วเอเชียนิยมรับประทาน ด้วยความที่อร่อยถูกปาก บวกคุณค่าทางอาหารที่ดีต่อร่างกาย ทั้งนี้ สัตว์น้ำจืดอย่าง กุ้ง หมึก ก็เป็นอาหารทะเลที่คนไทยนิยมเช่นกัน

Facebook
Twitter
Telegram
LinkedIn
ข้อมูลผู้เขียน
Picture of Pet Noi
Pet Noi

แหล่งอ้างอิง