ส่องชีวิต ราชาปลาน้ำจืด กระโทงดาบ ปลาเศรษฐกิจเสี่ยงสูญพันธุ์

ราชาปลาน้ำจืด

ราชาปลาน้ำจืด พันธุ์ปลาในท้องทะเลชนิดหนึ่ง ที่อันตรายกว่าฉลามหลายเท่า อย่าง “ ปลากระโทงดาบ ” ด้วยนิสัยที่ก้าวร้าว เพียงการจู่โจมเข้าทำร้ายเพียงครั้งเดียว อาจทำให้เสียชีวิตจากพวกมันได้ บล็อกนี้จะพามาสำรวจชีวิตของ สัตว์เจ้าทะเล อีกหนึ่งชนิดที่เข้าขั้นวิกฤติเสี่ยงสูญพันธุ์ พร้อมกับกิจกรรมของมนุษย์ต่อกระโทงดาบ สู่การถูกเปลี่ยนสถานะให้เป็นสัตว์อนุรักษ์ของ IUCN

ทำความรู้จัก Swordfish ปลากระโทงดาบ หรือปลาอินทรีดาบ

Swordfish ปลากระโทงดาบ หรือปลาอินทรีดาบ จัดอยู่ในกลุ่ม สัตว์นักล่าชั้นยอด ขนาดใหญ่ ที่มนุษย์มักใช้เป็นกิจกรรมทางกีฬา หรือการประมงตกปลา ส่วนใหญ่พบ ราชาปลาน้ำจืด บริเวณเขตร้อน บวกเขตอบอุ่นของมหาสมุทรแอตแลนติก อินเดีย แปซิฟิก ซึ่งจะพบใกล้ผิวน้ำที่มีระดับความลึกประมาณ 550 เมตร หรือประมาณ 1,800 ฟุต

และสามารถพบได้อีกในระดับความลึกพิเศษ 2,234 เมตร ทั้งนี้ กระโทงดาบขึ้นชื่อความอันตรายยิ่งกว่าฉลาม เพราะชอบพุ่งเข้าจู่โจมมนุษย์ พุ่งเข้าจู่โจมเรือประมง เรือดำน้ำมากกว่าฉลาม จนมีการรายงานข่าวจากประเทศอินโดนีเซียที่ว่า พวกมันจู่โจมใส่นักโต้คลื่นชาวอิตาลีจนเสียชีวิต โดยการใช้ปากแบนแหลมยาวแทงใส่ ซึ่งแผลมีความลึกเพียง 5 เซนติเมตรเท่านั้น

ลักษณะเฉพาะ ชนิดปลาก้าวร้าวที่สุดในท้องทะเล

สายพันธุ์ปลาที่ไม่คิดว่าจะอันตราย และมีความก้าวร้าวยิ่งกว่าฉลาม หรือนักล่าใต้ทะเลตัวอื่น ๆ อย่าง “ กระโทงดาบ ” พวกมันเป็นสายพันธุ์ปลาที่แบ่งออกเป็นชนิดย่อย มีทั้งที่อาศัยอยู่บริเวณเขตน้ำเย็น และบริเวณเขตน้ำร้อน เป็นหนึ่งในปลาที่มีความเร็วที่สุดในโลก โดยรวมพวกมันมีความยาวที่ตัวโตเต็มวัย 4 เมตร น้ำหนักประมาณ 635 กิโลกรัม

ถือว่าเป็นกลุ่มปลาที่แข็งแรง และแข็งแกร่งอย่างมาก อีกทั้งเหงือกของมันสามารถดูดซับออกซิเจน ได้มากกว่าปลาชนิดอื่น ๆ ใต้ท้องทะเล แถมมันยังรักษาอุณหภูมิได้สูง จึงทำให้สัตว์ที่อันตรายกว่าฉลาม ผู้เป็นถึง สัตว์ผู้ล่าชั้นยอด สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องตัว ภายในน้ำทะเลที่มีความเย็นจัด [1]

พฤติกรรม และสายพันธุ์ปลาที่เลือกกินเป็นอาหาร

Swordfish ไม่ใช่ปลาที่ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ พวกมันมักจะว่ายน้ำอยู่ตัวคนเดียว แต่ก็มีบางทีที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม แต่จะไม่ใช่กลุ่มใหญ่เกิน 10 ตัว แถมยังชอบนอนอาบแดดอยู่บนผิวน้ำ และมักโชว์ครีบหลังอันใหญ่ ๆ บนผิวน้ำ แต่เมื่อไหร่ที่พวกมันกระโดดขึ้นน้ำ ไม่ได้หมายถึงว่าจะจู่โจมเหยื่อเพียงอย่างเดียว อาจหมายถึงความพยายามที่จะขับไล่ศัตรูคู่ปรับ

อาทิเช่น ปลาเรโมรา หรือปลาฉลามซักเกอร์ และปลาแลมป์เพรย์ เป็นต้น ทั้งนี้ กระโทงดาบมักจะกินปลาทะเลหลากหลายชนิด อาทิเช่น ปลาทู, ปลาเก๋า, ปลาโคม, ปลาแฮร์ริ่ง, ปลาหมึก รวมถึงสัตว์จำพวกกุ้ง อย่างไรก็ตาม นักวิทยาได้สำรวจกระเพาะของพวกมัน ส่วนใหญ่ชนิดปลาที่พบ ได้แก่ ปลาหมึก 82% และปลาทะเลอื่น ๆ 53% เป็นต้น

ข้อเท็จจริง ราชาปลาน้ำจืด พันธุ์ปลาที่อันตรายกว่าฉลาม

ราชาปลาน้ำจืด

สำหรับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ราชาปลาน้ำจืด อย่าง “ กระโทงดาบ ” หลัก ๆ แล้วจะมีข้อเท็จจริงทั้งหมด 5 ข้อด้วยกัน แต่บล็อกนี้จะขอนำเสนอ 2 – 3 ข้อเท็จจริง ไม่ว่าจะเป็น

  • ปลาชนิดนี้สามารถอยู่ในน้ำ ที่มีความลึกพิเศษได้นานกว่า 12 ชั่วโมง อีกทั้งบริเวณน้ำลึกระดับพิเศษ จะมีอุณหภูมิต่ำถึง 5 องศา แต่พวกมันกลับใช้ชีวิตอยู่ได้
  • กระโทงดาบเป็นปลานักสู้แห่งท้องทะเล จึงได้รับฉายาอีกฉายาว่า ราชาแห่งทะเล ที่จะใช้ปากปลายแหลมเฉือนเหยื่อ ก่อนที่มันจะกลืนกินเหยื่อลงไป หากเทียบกับฉลามกับทักษะการล่าเหยื่อนั้น ฉลามจะกัดฉีกร่างกายให้ขาด แต่กระโทงดาบจะใช้ปากแหลมแทง แล้วค่อยกลืนกินลงไปเหมือนงู
  • การอพยพเพื่อย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยแต่ละที พวกมันจะว่ายน้ำเป็นระยะทางกว่า 5,000 กิโลเมตร แถมยังสามารถว่ายกลับมาถิ่นที่อยู่เดิมได้อีกด้วย เป็นต้น

ที่มา: สิงศาลาสาด – singsalasud – 5 ข้อเท็จจริง! ที่ ‘กระโทงดาบ’ เป็นปลาที่เหมือนกดสูตรโกง [2]

ปลาคู่ปรับกระโทงดาบ เห็นกันเมื่อไหร่ต้องมีฉากต่อสู้

หนึ่งในปลาที่แข็งแรงที่สุดอย่าง Swordfish มันทั้งตัวใหญ่ มีความทนทาน ว่ายน้ำได้เร็ว แถมยังมีนิสัยก้าวร้าว ชอบจะจู่โจมมนุษย์ แต่ทว่า กลับมีปลาชนิดหนึ่งที่เป็นคู่ปรับ ที่เมื่อปลาทะเลทั้ง 2 ชนิดนี้เจอกันเมื่อไหร่ จะต้องมีการต่อสู้กันอย่าง “ ปลาฉลามคุกกี้คัตเตอร์ หรือคุกกี้คัตเตอร์ ”

สามารถพบปลาชนิดนี้ได้ทั่วไป ในน่านน้ำเขตอบอุ่นของมหาสมุทรทั่วโลก ซึ่งบาดแผลส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นบนผิวหนัง Swordfish มักจะมาจากฝีมือของฉลามคุกกี้คัตเตอร์ ถึงแม้กระโทงดาบจะมีลำตัวขนาดใหญ่ แต่ก็ไม่วายจะถูกทำร้าย [3]

กิจกรรมมนุษย์ต่อ ราชาปลาน้ำจืด สู่การอนุรักษ์

ในส่วนของกิจกรรมมนุษย์ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกระโทงดาบ ได้แก่ การตกปลา ผู้คนส่วนใหญ่ในต่างประเทศ นิยมการตกปลากระโทงดาบเป็นอย่างมาก โดยวิธีตกปลาที่นิยมมากที่สุด คือ การตกปลาแบบตกจากที่สูง ซึ่งการตกปลาจะต้องใช้คันเบ็ด และรอกที่แข็งแรง เนื่องจาก ราชาปลาน้ำจืด มีขนาดตัวที่ใหญ่

บางครั้งก็มีเหตุการณ์ที่มันหลุดจากคันเบ็ด และรอก แล้วพุ่งเข้าทำร้ายกลุ่มคนบนเรือทันที นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มคนนำปลานักล่าชนิดนี้ ไปทำเป็นเนื้อกินเป็นอาหาร เนื่องจากกระโทงดาบเป็นปลาที่มีไขมัน แต่ปริมาณไขมันมีมากจนเกินไป เด็กเล็ก สตรีมีครรภ์ หรือหญิงที่จะวางแผนตั้งครรภ์ ไม่ควรจะรับประทานเด็ดขาด

ทั้งนี้ เมนูอาหารจากเนื้อปลากระโทงดาบ ได้แก่ ปลากระโทงดาบฝักทอง ปัจจุบันเมนูนี้มีราคาแพงกว่า เนื้อปลากระโทงดาบสีขาว อีกทั้งผู้คนยังนิยมนำเนื้อไปย่าง ไปทำเป็นสเต๊ก เป็นต้น นี่จึงทำให้ปลาชนิดนี้ได้รับสถานะการอนุรักษ์ จากองค์กร IUCN เพราะตอนนี้กำลังเข้าขั้นวิกฤติ เสี่ยงที่จะสูญพันธุ์หายไปจากมหาสมุทร

สรุป ราชาปลาน้ำจืด

สิ่งมีชีวิตใต้มหาสมุทร “ ปลากระโทงดาบ ” เป็นปลานักล่าเหยื่อที่ขนาดใหญ่ที่สุด เมื่อไหร่ที่พุ่งเข้าจู่โจมปลา หรือมนุษย์ พวกมันจะใช้ปากปลายแหลมยาวทิ่มแทง อีกทั้งปลาชนิดนี้ยังเป็นพันธุ์ปลา ที่มนุษย์นิยมตกปลา เพื่อนำไปกินเป็นอาหารอีกด้วย

Facebook
Twitter
Telegram
LinkedIn
ข้อมูลผู้เขียน
Picture of Pet Noi
Pet Noi

แหล่งอ้างอิง