สัตว์สงวนในไทย บรรดาหมู่สัตว์หายาก เสี่ยงที่จะสูญพันธุ์หายไปจากธรรมชาติ ปัจจุบันมีจำนวนประชากร สัตว์หายากในไทย ให้ได้พบเห็นลดน้อยลง บางชนิดก็สิ้นสุดการดำรงอยู่ไปแล้ว ซึ่งจะมีทั้งสัตว์ป่าขนาดเล็ก ขนาดกลาง ไปจนถึงกลุ่มสัตว์ขนาดใหญ่ อย่าง สัตว์โลกตัวใหญ่ อาทิเช่น แรด, สมเสร็จ, กระซู่, กวางผา, เก้งหม้อ เป็นต้น โดยบล็อกนี้ได้รวบรวมข้อมูลน่าอ่านมาให้แล้ว
ตามข้อมูลล่าสุดของพระราชบัญญัติสงวน และการคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 ได้ให้ความหมายของ สัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์ ไว้ว่า “ บรรดาสัตว์หายากต่าง ๆ ที่เสี่ยงใกล้จะสูญพันธุ์ หรือบางชนิดอาจสูญพันธุ์ไปแล้ว จึงจำเป็นจะต้องมีการสงวน และทำการอนุรักษ์เอาไว้อย่างเข้มงวด
เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายแก่สัตว์ป่า หรือซากสัตว์ป่า ” ทั้งนี้ การที่สงวนไปถึงซากสัตว์ป่า และสัตว์ที่สิ้นสุดการดำรงอยู่ในธรรมชาติด้วยนั้น เพื่อต้องการเก็บซากให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา เก็บเพื่อเป็นมรดกของชาติ และเก็บเพื่อไม่ให้ใครนำไปสะสมเป็นของส่วนตัวนั่นเอง [1]
ด้วยการประเมินความเสี่ยงของ สัตว์สงวนในไทย ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือสิ้นสุดการดำรงอยู่ในธรรมชาติ ทางองค์กร IUCN ใช้เกณฑ์วัดจากหลักการมาตรฐานสากล โดยมีการประเมินความเสี่ยงตามสถานภาพของ สัตว์โลกตัวเล็ก ชนิดนั้น ๆ ซึ่งเหตุผลที่ทางองค์กรมีการประเมิน มีการแบ่งหมวดหมู่สัตว์ป่า มีเหตุผลดังนี้
เลียงผา : สัตว์ที่มีเขาเหมือนแพะ มีความคล้ายกับกวางผา ส่วนมากพบการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็น เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อินโดนีเซีย เป็นต้น เลียงผามักจะชอบอยู่ตามหน้าผาภูเขาสูง หรือตามเกาะต่าง ๆ พวกมันมีความสามารถในการปีนป่าย ซึ่งสามารถทำความเร็ว ในการขึ้นที่สูงได้ถึง 1,000 เมตร ใช้เวลาแค่เพียง 15 นาทีเท่านั้น [2]
สมเสร็จ : กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ มีหน้าตาประหลาด เหมือนมีสัตว์หลายชนิดผสมอยู่บนใบหน้านั้น โดยความยาวของช่วงตัวอยู่ที่ 2 เมตร ส่วนสูง 1 เมตร น้ำหนัก 150 – 300 กิโลกรัม มักอาศัยในป่าทึบแถบอเมริกาใต้ อเมริกากลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันสมเสร็จมีทั้งหมด 4 ชนิด ซึ่งถูกจัดให้เป็นสัตว์เสี่ยงสูญพันธุ์ไปเรียบร้อย [3]
หากพูดถึงปัจจัยการคุกคาม สัตว์สงวนในไทย หลัก ๆ แล้วมันมาจากภัยคุกคามจากมนุษย์ ภัยคุกคามจากธรรมชาติ ไปจนถึงโรคระบาดต่าง ๆ ที่ สัตว์โลกน่ารัก ทุกชนิดไม่สามารถต้านทาน หรือฟื้นฟูให้หายเองได้ โดยปัจจัยการคุกคามที่เป็นกรณีใหญ่ ๆ ที่ร้ายแรงจากน้ำมือมนุษย์นั้น มีดังนี้
ที่มา: CHEEWID – เปิดรายชื่อสัตว์ป่าสงวน คืออะไร มีกี่ชนิดในไทย อะไรบ้าง [4]
แรด : ลำดับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ด้วยความใหญ่ที่รองจากช้าง จึงมีความยาวประมาณ 3.6 – 5 เมตร น้ำหนักราว ๆ 2.3 – 3.6 ตัน โดยแรดถือว่าเป็นสัตว์ที่ถูกพบเห็นได้บ่อย แต่ก็ถูกล่าจากมนุษย์บ่อยเช่นกัน เพราะความเชื่อที่ว่าอวัยวะต่าง ๆ ของแรด สามารถใช้เป็นยารักษาโรคได้ บางคนก็นำไปเป็นยาบำรุงร่างกาย [5]
พะยูน : สัตว์น้ำชนิดแรกที่ถูกจัดให้เป็นสัตว์สงวน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 พวกมันมีรูปร่างคล้ายแมวน้ำขนาดใหญ่ รูปร่างอ้วนกลมเทอะทะ มีความสามารถในการกลั้นหายใจใต้น้ำ ได้นานถึง 20 นาที ส่วนใหญ่พบการกระจายพันธุ์ในทะเลเขตอบอุ่น ไม่ว่าจะเป็น ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ทะเลอันดามัน, มหาสมุทรอินเดีย, อ่าวไทย, ทะเลจีนใต้, ทะเลซูลู, ทะเลเซเลบีส เป็นต้น [6]
Wild Animals ถือว่าเป็นกลุ่มสัตว์ที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมาก ไม่ว่าจะทางตรง และทางอ้อม จึงจำเป็นจะต้องมีการอนุรักษ์ สัตว์สงวนในไทย ไม่ให้ลดจำนวนน้อยลง โดยการอนุรักษ์ง่าย ๆ มีดังนี้
บรรดาสัตว์ป่าทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น สัตว์บก สัตว์น้ำ สัตว์ปีก หรือแมลงเอง ที่ถูกบัญญัติให้เป็นสัตว์ป่าสงวน ล้วนแล้วแต่จะต้องถูกการคุ้มครอง เพื่อไม่ให้จำนวนประชากรสัตว์ลดลง และเพื่อให้กลุ่มสัตว์ได้ดำรงอยู่ในธรรมชาติต่อไป