บันทึก เรื่องเล่าของตุ่น ศัตรูพืชสำหรับเกษตรกร

เรื่องเล่าของตุ่น

เรื่องเล่าของตุ่น สัตว์หน้าตาแปลกที่กระจายพันธุ์ทั่วโลก อย่าง “ ตุ่น ” ( Mole ) สัตว์ตัวเล็กที่มักถูกมองว่าเป็น ศัตรูพืชสำหรับคนทำสวน พวกมันเป็นสัตว์ที่ไม่ค่อยมีใครพบเห็น เนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่มักอยู่แต่ใต้ดิน โดยบล็อกนี้จะมาเผยแพร่เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับตัวตุ่น หรือตัวติ่ง สัตว์ที่ทำหน้าที่ขุดดินเพื่อเติมอากาศ ให้กับพืชหลาย ๆ ชนิดได้เจริญเติบโต

ตัวตุ่น หรือติ่ง ลักษณะเฉพาะของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

ตัวตุ่น หรือตัวติ่ง กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก มีลักษณะคล้ายกับหนูตะเภาตัวอ้วน โดยพวกมันมีลักษณะพิเศษกว่านั้น ได้แก่ “ การหายใจใต้ดิน ” ตัวตุ่นสามารถทนต่อคาร์บอนไดออกไซด์ ในระดับที่สูงกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่น ๆ

สามารถหายใจในสภาพแวดล้อม ที่มีระดับออกซิเจนต่ำได้ อาทิเช่น ใต้ดิน หรือโพรง อีกทั้งลักษณะพิเศษอีกส่วน ได้แก่ “ นิ้วโป้งพิเศษ ” ซึ่งตัวตุ่นมีอุ้งเท้าที่มีนิ้วโป้งหลายนิ้ว เหมาะสำหรับการขุดดินเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม นอกจากตุ่นจะมีนิ้วโป้งพิเศษ ที่ทำหน้าที่ขุดดินแล้ว

ยังมีอีกหนึ่งสัตว์ที่มีหางขนาดใหญ่ ที่มีไว้เพื่อพันรอบตัวเอาไว้กันหนาว อย่าง “ เสือดาวหิมะ ” สัตว์ป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หากใครสนใจอยากติดตาม เรื่องเล่าเสือดาวหิมะ กันต่อ ว่าปัจจุบันความหนาแน่นของประชากรเหลือเท่าไหร่ แนะให้กดลิงก์เพื่อเข้าอ่านบล็อกได้ทันที

การจำแนกประเภทสายพันธุ์

สำหรับตัวตุ่นได้ถูกจัดจำแนกประเภท ออกมาเป็นอนุวงศ์ใหญ่ ๆ ถึง 3 วงศ์ด้วยกัน โดยแต่ละวงศ์ใน เรื่องเล่าของตุ่น มีรายละเอียดดังนี้

  • อนุวงศ์ Scalopinae : ตุ่นโลกใหม่ เป็นเผ่าพันธุ์ของ Condylurini หรือตุ่นจมูกดาวในอเมริกาเหนือ อีกทั้งยังมีเผ่าพันธุ์ Tribe Scalopini เป็นติ่งไฝโลกใหม่เช่นกัน ซึ่งแพร่กระจายตามพื้นที่ของประเทศจีน อเมริกาเหนือตอนบน และตะวันออกเฉียงเหนือ
  • อนุวงศ์ Talpinae : ตุ่นโลกเก่า, ตุ่นเดสมัน และตุ่นหนูผี เป็นเผ่าพันธุ์ของเดสมานินี, ทัลพินี ( โมลของโลกเก่า ), สแคปโทนีชินี ( ตุ่นหางยาว ), อูโรตริชินี่ ( ตุ่นหนูผีญี่ปุ่น ) และ Neurotrichini ( ตุ่นหนูผีโลกใหม่ )
  • อนุวงศ์ Uropsilinae : ตุ่นหนูผีเอเชีย อยู่ในวงศ์สกุลของ Uropsilus ซึ่งจะมีทั้งหมด 5 ชนิดอยู่ในประเทศจีน ภูฏาน และพม่า เป็นต้น

ที่มา: WIKIPEDIA – Mole ( Animal ) [1]

พฤติกรรม และประเภทอาหารที่กิน

ปกติแล้วตุ่นเป็นสัตว์ที่ชอบอาศัยอยู่ลำพัง ไม่ชอบอยู่กันเป็นกลุ่มใหญ่ จึงทำให้พวกมันเป็น สัตว์รักสันโดษ ที่ชอบทำอะไรเพียงตัวเดียว แต่ถ้าเข้าสู่ช่วงฤดูผสมพันธุ์ ตุ่นตัวผู้จะรวมกลุ่มกันเพื่อแย่งชิงตุ่นตัวเมีย ส่วนตัวเมียจะเป็นฝ่ายสร้างรัง ด้วยการขุดดินให้ลึกประมาณ 2 ฟุต หรือตื้นกว่านั้น

แถมยังขุดดินเป็นทางแยกหลายทาง เพื่อรอเวลาผสมพันธุ์กับตัวผู้ โดยตัวเมียจะออกลูกครอกละ 2 – 7 ตัว ทั้งนี้ พวกมันมีอาหารจานหลัก ได้แก่ “ ไส้เดือนดิน ” แต่ก็สามารถกินอาหารประเภทอื่น ๆ ได้อีก ไม่ว่าจะเป็น หนอน หอยทาก รวมไปถึงพืชประเภทหัว อาทิเช่น แห้ว มัน บลา ๆ

จึงทำให้มันกลายเป็นสัตว์จำพวก สัตว์กินพืช ที่วัน ๆ หนึ่งจะต้องกินอาหาร ให้เท่ากับน้ำหนักของตัวเอง อีกทั้งยังเป็นสัตว์ที่ไม่สามารถอดอาหารนานได้ ถ้าเข้าช่วงหน้าแล้งที่อาหารเริ่มขาดแคลน พวกมันจะเก็บหนอนไว้ในโพรงเพื่อเก็บไว้กิน [2]

เรื่องเล่าของตุ่น ในส่วนความสัมพันธ์ร่วมกับมนุษย์

เรื่องเล่าของตุ่น

ในส่วนของความสัมพันธ์ระหว่าง ตุ่น VS มนุษย์ นั้น มนุษย์มักเข้าใจผิดคิดว่า พวกมันเป็นศัตรูพืชสำหรับคนทำสวน แต่ถ้าพูดกันตาม เรื่องเล่าของตุ่น แล้ว พวกมันเป็นสัตว์ที่มีส่วนช่วยให้ดิน สวน รวมไปถึงระบบนิเวศต่าง ๆ ดีขึ้น

อาทิเช่น การถ่ายเทอากาศในดิน และการกินสัตว์ขนาดเล็กที่ชอบกินรากพืช บลา ๆ แต่ก็มีบางประเทศเช่นกัน ที่มองว่าพวกมันเป็นศัตรูพืชทางการเกษตร อย่างประเทศเยอรมนี ประชากรที่ทำสวนมักคิดว่า พวกมันทำให้หญ้าปนเปื้อน

ทำให้หน้าดินมีขนาดลดลง ที่ส่งผลให้ผลผลิตลดลงตามไปด้วย อีกทั้งยังส่งผลให้เครื่องจักรกลทางการเกษตรชำรุด บลา ๆ ถ้าประชากรในเยอรมนีต้องการกำจัด จะต้องมีใบอนุญาตที่ระบุปัญหาก่อนกำจัด เพราะประเทศเยอรมนีถือว่าตุ่นเป็น สัตว์ป่าคุ้มครอง ที่ไม่ควรจะกำจัดเลยทันที

สถานะอนุรักษ์ตาม เรื่องเล่าของตุ่น

ถึงแม้ตัวตุ่นจะเป็นสัตว์คุ้มครองของบางประเทศ แต่พวกมันกลับไม่ได้เป็นสัตว์ ที่ได้รับการคุ้มครองทางกฎหมาย ในสหราชอาณาจักร และตามข้อเท็จจริงของ เรื่องเล่าของตุ่น มักถูกมองว่าเป็นศัตรูพืชโดยเกษตรกร คนทำสวน

คนดูแลสนามหญ้า ซึ่งพวกมันชอบขุดดินเป็นอุโมงค์ ในพื้นที่ที่เพิ่งปลูกพืชใหม่ นี่อาจเป็นการรบกวนรากพืชจนเหี่ยวเฉาได้ จนสุดท้ายมนุษย์มีการดักจับตัวตุ่น เพื่อเอาหนังไปแปรรูปเป็นจำนวนมาก แต่ปัจจุบันพวกมันถูกฆ่าในฐานะศัตรูพืช [3]

ข้อกังขา สัตว์กินพืชขนาดเล็ก

ตุ่นเป็นสัตว์อันตรายหรือไม่ : แม้ว่าตุ่นจะชอบอยู่ใต้ดิน เป็นสัตว์ขี้อาย แต่ถ้าเวลาที่พวกมันตื่นตระหนก ถูกต้อนจนมุม ถูกดักจับ ตุ่นอาจทำร้ายถึงขั้นกัดได้ และเชื้อโรคจากการถูกพวกมันกัด อาจแพร่โรคพิษสุนัขบ้าสู่มนุษย์ได้

ตุ่นเป็นหนูหรือไม่ : ตุ่นไม่ใช่สัตว์จำพวกสัตว์ฟันแทะ เพียงแค่มีลักษณะที่คล้ายกัน รวมถึงที่อยู่อาศัย พฤติกรรม และกินอาหารที่เหมือนกันเท่านั้น

จุดประสงค์การขุดดินของตุ่นคืออะไร : ชาวเกษตรกรมักคิดว่า การขุดดินของตัวตุ่นคือการทำลายรากพืช ทำลายสนามหญ้า แต่ความจริงแล้ว พวกมันมีส่วนช่วยต่อภูมิทัศน์ของอุโมงค์ดิน และเนินดิน

ทำไมตุ่นถึงชอบเข้าบ้านมนุษย์ : ยิ่งบ้านไหนที่มีสนามหญ้า พวกมันจะยิ่งชอบเข้าไปขุดดิน อีกทั้งยังชอบเข้าไปในตัวบ้าน แต่จะไม่ทำความเดือดร้อนให้บ้านมนุษย์

การสัมผัสตัวตุ่นจะเป็นอะไรหรือไม่ : เพื่อป้องกันการถูกกัด แนะว่าให้หลีกเลี่ยงการสัมผัสตัวตุ่น เพราะคุณอาจติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าได้

สิ่งที่ตุ่นเกลียดที่สุดคืออะไร : พวกมันเกลียดกลิ่นน้ำมันดิน หากคุณต้องการจะขวางทางหนีของมัน หรือไม่ให้มันเข้ามายุ่งกับสนามหญ้า แนะว่าให้โรยกากกาแฟ พริกแดง หรือเครื่องเทศกลิ่นแรง ๆ ลงดิน เป็นต้น

สรุป เรื่องเล่าของตุ่น

สัตว์ที่ชาวเกษตรกรไม่ชอบอย่างมาก อย่าง “ ตุ่น ” หรือ “ ติ่ง ” เพราะพฤติกรรมของพวกมัน ชอบการขุดดินลึกเป็นอุโมงค์ ยิ่งพื้นที่ไหนปลูกพืช หรือเป็นสนามหญ้า พวกมันจะยิ่งชอบขุดอย่างมาก เนื่องจากพวกมันเป็นสัตว์ที่ชอบอยู่ใต้ดิน จึงทำให้ตุ่นได้รับสถานะว่าเป็น “ ศัตรูทางพืช ” ของเกษตรกรทันที

Facebook
Twitter
Telegram
LinkedIn
ข้อมูลผู้เขียน
Picture of Pet Noi
Pet Noi

แหล่งอ้างอิง