สัตว์ป่าตัวเล็ก สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กทุกชนิดที่กำเนิดขึ้นมาบนโลก ไม่ว่าจะเป็น สัตว์บก, สัตว์น้ำ, สัตว์ปีก, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หรือแมลง โดยถ้าพูดตามสภาพธรรมชาติ สัตว์ป่าตัวใหญ่ ย่อมเกิด ย่อมดำรงชีวิตอยู่ในป่า อยู่ในน้ำ หากใครอยากตามส่องชีวิต Wildlife บล็อกนี้พร้อมนำเสนอ สัตว์โลกตัวเล็ก เหล่าสัตว์ที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศ
ด้วยคำว่า “ สัตว์ป่า ” หมายถึง สัตว์ทุกสายพันธุ์ ทุกสปีชีส์ ที่ไม่ถูกเลี้ยงไว้ภายในบ้าน แต่เป็นหมู่ สัตว์โลกตัวใหญ่ ที่เติบโต และอาศัยอยู่ในป่าธรรมชาติ ซึ่งสัตว์ป่าสามารถพบได้ในระบบนิเวศ ไม่ว่าจะเป็น ทะเลทราย, ที่ราบ, ทุ่งหญ้า, ป่าไม้, ป่าดงดิบ รวมถึงพื้นที่อื่น ๆ พื้นที่ในเมือง เป็นต้น
ปัจจุบันประชากร Wildlife ทั่วโลกมีจำนวนลดลงอย่างมากถึง 68% ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 อันเป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์ ที่มันส่งผลกระทบโดยตรงต่อ สัตว์โลกสวยงาม โดยเฉพาะการบริโภคกินเป็นอาหาร และการทำฟาร์มแบบเข้มข้น หรือการเกษตรแบบเข้มข้น นี่จึงเป็นหลักฐานที่ว่า ทำไมสัตว์ป่าถึงจำนวนลดลงเรื่อย ๆ [1]
สำหรับหมู่สัตว์ทุกชนิดบนโลก นอกจากถูกคุกคามจากมนุษย์แล้ว บรรดาสัตว์ทั้งหลายยังถูกมลภาวะทางแสงคุกคาม ทำให้สัตว์ป่ามีพฤติกรรม และการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนไป นี่จึงส่งผลกระทบอย่างหนักไปถึง สัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์ อื่น ๆ ในห่วงโซ่อาหาร รวมถึงระบบนิเวศในระยะยาว โดยข้อมูลที่เคยมีการศึกษามา เพื่อให้มนุษย์เกิดความตระหนัก ซึ่งรายละเอียดมีดังนี้
ที่มา: DARKSKY – สัตว์ป่าและระบบนิเวศ [2]
นกชนหิน : อันดับนกขนาดใหญ่ในวงศ์เงือก พบได้ทั้งในประเทศไทย, บอร์เนียว, สุมาตรา, มาเลเซีย เป็นสายพันธุ์นกที่มีพันธุกรรมเก่าแก่มายาวนาน 45 ล้านปี โดยเหล่าน้อง ๆ มีโหนกใหญ่บนหัว ซึ่งมีน้ำหนักประมาณ 11% ของน้ำหนักตัว ใช้สำหรับการต่อสู้แบบเอาหัวชนกัน ปกตินกชนหัวจะหากินบนยอดไม้ ส่วนใหญ่จะกินผลไม้เป็นหลัก [3]
แมวลายหินอ่อน : วงศ์แมวเสือขนาดเท่ากับแมวบ้าน มีลักษณะเด่นเป็นลวดลายหินอ่อนบนลำตัว น้องมีถิ่นอาศัยในรัฐอัสสัม พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย, เนปาล, เกาะบอร์เนียว, เกาะสุมาตรา ปัจจุบันยังมีผู้คนค้นคว้าเกี่ยวกับแมวลายหินอ่อน และยังไม่ทราบจำนวนประชากรที่ชัดเจน ขณะเดียวกันป่าที่เป็นที่อยู่อาศัยลดลง ทำให้แมวลายหินอ่อนอยู่ในสถานะสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ [4]
สำหรับป่าในประเทศไทย จัดว่าเป็นพื้นที่สีเขียวที่อุดมสมบูรณ์ของ สัตว์ป่าตัวเล็ก ซึ่งพื้นที่หลายล้านตารางกิโลเมตรของป่าไทย ถือว่าเป็นต้นกำเนิดของสัตว์นานาชนิด รวมถึงพืชพรรณหายากมากมาย แต่ท่ามกลางการเติบโตของเศรษฐกิจ การขยายตัวของชุมชน รวมไปถึงเทคโนโลยีต่าง ๆ ทำให้มนุษย์กำลังค่อย ๆ สูญเสียป่า
และสิ่งมีชีวิตอย่าง สัตว์โลกแสนรู้ ที่เติมเต็มความสมบูรณ์ของระบบห่วงโซ่อาหาร ด้วยสาเหตุนี้เอง ทำให้องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ได้จัดโครงการอนุรักษ์ Wildlife เพื่อเร่งฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงสัตว์ป่าที่อยู่ในสถานะเสี่ยงสูญพันธุ์ เพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ ให้อยู่คู่กับผืนป่าใหญ่อย่างยั่งยืน
ไก่ฟ้า : สัตว์ปีกที่มนุษย์ใช้เนื้อมาทำเป็นอาหารมากที่สุด แถมยังนิยมเลี้ยงไว้เป็น สัตว์เลี้ยงแปลก ที่มีหลากหลายชนิด และราคาแพง ปัจจุบันสามารถพบไก่ฟ้าในไทยได้ 9 ชนิด ได้แก่ ไก่ฟ้าหลังเทา, ไก่ฟ้าหลังขาว, ไก่ฟ้าพญาลอ บลา ๆ และชนิดที่พบในต่างแดน ได้แก่ ไก่ฟ้าสีทอง, ไก่ฟ้าสีเลือด เป็นต้น [5]
แร้ง : หรืออีแร้ง นกขนาดใหญ่อยู่ในกลุ่มนกล่าเหยื่อ ซึ่งเป็นชนิดเดียวกันกับนกเหยี่ยว อินทรี นกเค้าแมว ส่วนใหญ่แร้งจะไม่ล่าเหยื่อ หรือกินสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ แต่จะกินเฉพาะซากสัตว์ที่ตายแล้ว ทั้งนี้ แร้งบางชนิดสามารถกินอาหาร ที่มีน้ำหนักมากถึงร้อยละ 20 ของน้ำหนักตัวได้ โดยแร้งกินแล้วจะเก็บไว้ในกระเพาะอาหาร เพื่อรอเวลาในการย่อย [6]
ด้วยมนุษย์ในยุคหิน รวมถึงนักล่าสัตว์จะต้องมีการพึ่งพา สัตว์ป่าตัวเล็ก ด้วยการนำมาทำเป็นอาหาร ซึ่งความเป็นจริงแล้ว สิ่งมีชีวิตบางชนิดถูกล่าจนสูญพันธุ์ ปัจจุบันการล่าสัตว์ การตกปลา และการรวบรวมสัตว์
ยังคงเป็นแหล่งอาหารสำคัญในบางส่วนของโลก บางพื้นที่มีการล่าสัตว์ มีการตกปลา เพื่อการค้าซะเป็นส่วนใหญ่ บางพื้นที่ก็มีการล่าสัตว์เพื่อเป็นกีฬา บางคนก็ตกปลาเพื่อเป็นกิจกรรมพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น
Wildlife สัตว์ป่าทุกชนิดขนาดเล็ก หมู่สัตว์ที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศ เมื่อไหร่ที่สัตว์ป่าเสี่ยงใกล้สูญพันธุ์ จากกิจกรรมของมนุษย์ หรือหายไปเองตามธรรมชาติ อาจทำให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไป และอาจส่งผลให้ระบบห่วงโซ่อาหารไม่สมบูรณ์