นกในประเทศไทย สัตว์ปีกเลือดอุ่น ที่ถูกค้นพบในธรรมชาติของประเทศไทย สิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญต่อ “ ระบบนิเวศ ” และสำคัญต่อ “ ชีวิตมนุษย์ ” ด้วยความสัมพันธ์ที่มีมานานระหว่าง มนุษย์ VS นก
นี่จึงเป็นต้นตอของความชื่นชอบ ความนิยม ในการนำนกมาเป็น สัตว์เลี้ยงยอดฮิต ประจำบ้าน โดยบล็อกเล่มนี้ ได้รวมรายชื่อนก 4 สายพันธุ์ ที่ถูกค้นพบในธรรมชาติของไทย พร้อมทั้ง How to ในการอนุรักษ์นกฉบับทำเองได้ที่บ้าน
“ นก ” สัตว์เลือดอุ่น ออกลูกเป็นไข่ มีสายพันธุ์ที่ถูกบันทึกในธรรมชาติ ของประเทศไทยเมื่อปี 2019 ว่ามีทั้งหมด 17 ชนิดด้วยกัน โดยมี 2 ชนิดเป็นนกถิ่นเดียว อีก 5 ชนิดเป็นสายพันธุ์ต่างถิ่น ที่ถูกนำเข้าในไทยโดยมนุษย์ อีก 100 ชนิดที่พบเห็นทั่วไปได้ยาก และอีก 8 ชนิดเป็นพันธุ์พลัดหลง
ซึ่ง นกในประเทศไทย ส่วนใหญ่แล้วเป็นนกชนิดหลัก ของเขตนิเวศอินโดมาลายา หนึ่งในเขตนิเวศวิทยา ที่ครอบคลุมทั่วทั้งเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก ทั้งนี้ นกบางสายพันธุ์ที่ถูกค้นพบ ถูกบันทึกเมื่อปี 2019 อาจจะมีบางพันธุ์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว [1]
เป็ด และห่าน : กลุ่มนกอันดับ Anseriformes เป็นอันดับของ นกในประเทศไทย อันดับ 1 ประกอบไปด้วย เป็ด, ห่าน, หงส์ ทั้งสามเป็นนกน้ำ หรือกึ่งน้ำกึ่งบก สามารถว่ายน้ำ ดำน้ำได้ดี ส่วนอาหารที่กิน ได้แก่ สัตว์ตัวเล็กต่าง ๆ บวกพืช
ปัจจุบันมี 131 ชนิดทั่วโลก แต่พบในไทย 25 ชนิด นอกจากนี้ เป็ด + ห่าน เป็นสัตว์ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับผู้เลี้ยง เนื่องจากเป็น สัตว์เลี้ยงสร้างอาชีพ ที่สามารถเลี้ยงเพื่อเพาะขยายพันธุ์ และเก็บไข่เพื่อส่งออกขายไปยังตลาด [2]
ไก่ฟ้า นกกระทา และนกคุ่ม : กลุ่มนกอันดับ Galliformes เป็นสัตว์ปีกที่มีขนาดลำตัวตั้งแต่เล็ก ไปจนถึงขนาดใหญ่มาก ตั้งแต่ 12 – 223 เซนติเมตร ส่วนใหญ่มีพฤติกรรม ชอบคุ้ยเขี่ยหาอาหารตามพื้นดิน ชอบอาศัยบนต้นไม้ ปัจจุบันมีทั้งหมด 156 ชนิดของ นกในต่างประเทศ ทั่วโลก แต่พบในไทย 26 ชนิด [3]
นกฟลามิงโก : กลุ่มนกอันดับ Phoenicopteriformes เป็นนกที่ชอบเดินลุยน้ำ ชอบอยู่กันเป็นกลุ่ม ส่วนใหญ่จะมีขนาดส่วนสูง 0.9 – 1,005 เมตร เป็นนกที่ไม่มีประสาทรับกลิ่น ชอบส่งเสียงดังตลอดเวลา อีกทั้งยังบินได้ในระยะทางที่ไกล และชอบจะบินในเวลากลางคืน ด้วยความเร็วประมาณ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ปัจจุบันถูกยกระดับให้อยู่ในสถานะ “ นกพลัดหลง ” [4]
นกพิราบ และนกเขา : กลุ่มนกอันดับ Columbiformes มีขนาดตั้งแต่เล็กมากไปจนถึงขนาดใหญ่ ประมาณ 15 – 120 เซนติเมตร เป็นนกที่กินพืชเป็นหลัก โดยเฉพาะเมล็ดพืช บวกธัญพืช ชอบจะสร้างรังจากกิ่งไม้บนต้นไม้ บนเชิงผา บนพื้นดิน ทั้งนี้ กลุ่มนกเหล่านี้ต่างเป็นนกที่มนุษย์ คุ้นเคยรู้จักเป็นอย่างดี
มีการนำเข้าบ้านเพื่อยกระดับให้เป็น สัตว์เลี้ยงในบ้าน เพื่อฝึกสอน ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง อาทิเช่น การสื่อสาร การแข่งขันการบิน เป็นต้น ถือว่าเป็นสัตว์ปีกที่ค่อนข้างเป็น สัตว์เลี้ยงฝึกง่าย มือใหม่ที่เพิ่งเคยเลี้ยงนกไม่มีปวดหัว ปัจจุบันมี 308 ชนิดทั่วโลก แต่พบในไทย 28 ชนิด [5]
ด้วยแหล่งที่อยู่ หรือถิ่นที่อยู่ พื้นที่ทางระบบนิเวศวิทยา ที่อยู่อาศัยของ นกในประเทศไทย พืช และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ต่างเป็นสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ ที่ทุกสายพันธุ์นก รวมถึงสิ่งมีชีวิตสามารถอยู่อาศัยได้
โดยนกที่ถูกพบในประเทศไทยนั้น ต่างก็ต้องการระบบนิเวศวิทยาที่ต่างกัน สืบเนื่องมาจากวิวัฒนาการ และการปรับตัวเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ส่วนใหญ่จะชอบอยู่อาศัยตามป่าไม้, ป่าผลัดใบ, ป่าหญ้า, หาดทราย, หาดโคลน, ป่าเกาะ และเขาหินปูน เป็นต้น
หากพูดถึงความชื่นชอบ สำหรับการเลี้ยงนกให้เป็นสัตว์เลี้ยง ความชื่นชอบนี้ได้เริ่มมาตั้งแต่อดีตกาล จนล่วงเลยมาจนถึงเวลาปัจจุบัน ความชื่นชอบนี้ได้แพร่กระจายกลายเป็นความนิยม ไม่ว่าจะคนหนุ่มสาว วัยทำงาน วัยชรา ต่างก็นิยมเลี้ยง นกสวยงามขายดี ภายในบ้าน
เพื่อให้เป็นสัตว์เลี้ยงที่สร้างสีสัน สร้างความบันเทิงภายในบ้าน ปัจจุบันมีพันธุ์นกที่สามารถเลี้ยงในไทยได้ หลากหลายสายพันธุ์ด้วยกัน หากสนใจให้ลองหาซื้อยัง ตลาดสัตว์เลี้ยงในไทย อาทิเช่น ตลาดนัดจตุจักร เพื่อมองหาสัตว์ปีกมาเป็นสัตว์เลี้ยงคลายเหงา
กลุ่มคนที่เลี้ยงนกเป็นสัตว์เลี้ยง มีใจรักสัตว์ปีกทุกชนิด หัวข้อของบล็อกนี้เป็น How to การอนุรักษ์ นกในประเทศไทย สามารถทำได้ด้วยตนเองง่าย ๆ ได้ที่บ้าน รายละเอียดมีดังนี้
ด้วยรายชื่อนกพันธุ์ต่าง ๆ ที่ถูกค้นพบ และถูกบันทึกเมื่อปี 2019 มีทั้งหมด 17 ชนิดใหญ่ ๆ ด้วยกัน มีทั้งนกที่มนุษย์นำเข้ามา นกอพยพ นกหายาก นกพลัดหลง เป็นต้น สิ่งมีชีวิตที่มีคุณค่า มีความสำคัญต่อระบบนิเวศ สัตว์ประเภทนี้จะต้องได้รับการอนุรักษ์